หากเรามี
เครือข่ายผู้นำ

ที่ล้วนมีประสบการณ์และเป้าหมายใน
การขับเคลื่อนการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเสมอภาค
เด็กในประเทศไทยจะไปได้ไกลถึงเพียงไหน

หากเรามี
เครือข่ายผู้นำ

ที่ล้วนมีประสบการณ์และมีเป้าหมายเดียวกัน
ในการขับเคลื่อนการศึกษาที่มีคุณภาพอย่าง
เท่าเทียมให้แก่เด็กไทยประเทศของเราจะไปได้
ไกลขนาดไหน..

หากเรามี
เครือข่ายผู้นำ

ที่ล้วนมีประสบการณ์และมีเป้าหมายเดียวกันในการขับเคลื่อนการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมให้แก่เด็กไทย ประเทศของ เราจะไปได้ไกลขนาดไหน..

ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่สำเร็จโครงการเป็นส่วนสำคัญของเครือข่ายศิษย์เก่าผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Alumni) ที่มีเป้าหมายร่วมกันในการขจัดความไม่เท่าเทียมทางการศึกษาและการทำงานเพื่อสังคม ซึ่งทักษะความเป็นผู้นำและความเข้าใจถึงปัญหาสังคมอย่างถ่องแท้จะช่วยผลักดันให้ศิษย์เก่าของโครงการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิภาพในเส้นทางอาชีพสายต่าง ๆ
เครือข่ายศิษย์เก่าเป็นกลุ่มผู้นำที่เปี่ยมไปด้วยความยึดมั่นต่อวิสัยทัศน์ของมูลนิธิทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ และเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพมากขึ้นผ่านเส้นทางอาชีพสายต่าง ๆ ปัจจุบันมีศิษย์เก่าผู้นำการเปลี่ยนแปลงรุ่นที่ 8 รวมทั้งสิ้น 294 คน

จำนวน ศิษย์เก่า ทั้งหมด 294 คน

พบกับ ทราย
สิริกานต์ แก้วคงทอง (รุ่นที่ 1)
นักวิชาการศึกษา ที่ สำนักมาตราฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและพัฒนาเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

Policy



ทรายคือหนึ่งในศิษย์เก่าที่สนใจด้านการพัฒนาสังคมเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ในช่วงมหาวิทยาลัย ทรายได้ทำกิจกรรมอาสามากมาย ระหว่างที่ทรายได้เป็นอาสาสมัคร ทรายได้พูดคุยกับ เด็กในชุมชนแออัดจึงตระหนักได้ว่า การศึกษาเป็นส่วนสำคัญในการลดปัญหาสังคมได้ ทรายจึงตัดสินใจเป็นส่วนหนึ่งกับ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์

ระหว่างโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ทรายได้ทำสิ่งที่ตัวเองรักอย่างการพัฒนาศักยภาพนักเรียน พร้อมกับการพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นำและทักษะอื่นๆตลอดระยะเวลา 2 ปี เช่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงานเป็นทีม หรือแม้แต่ความเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงต้องอาศัยเวลาแค่ไม่หยุดลงมือทำก็พอแล้ว

ปัจจุบันทรายได้ทำงานเป็นนักวิชาการในสำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและพัฒนาเรียนรู้ ทรายยังคงมุ่ง ศึกษา วิจัย พัฒนา และ ขับเคลื่อนนโยบายทางการศึกษา ผ่านการทำงานร่วมกับภาคส่วนต่างๆในสังคม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนหน่วยงานทางการศึกษาต่อไป
พบกับ สกาย
ทัฬหวิชญ์ ฐิติรัตน์สกุล (รุ่นที่ 2)
นักวิจัย ที่ TDRI
Policy



สกายคือหนึ่งในศิษย์เก่าที่สนใจงานด้านการเปลี่ยนแปลงในระดับนโยบาย ซึ่งปัจจุบันทำหน้าที่เป็นนักวิจัยภายใต้โครงการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

สกายเชื่อว่างานวิจัยพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เป็นหนทางหนึ่งสู่การปฏิรูปการศึกษาไทย ผ่านการปลดล็อกกฎระเบียบ สร้างกลไกความเป็นอิสระ เปิดโอกาสให้คนในพื้นที่ และ ภาคส่วนต่างๆ สามารถมีส่วนร่วม สะท้อนความต้องการ ร่วมกันจัดการศึกษาเพื่อตอบโจทย์ผู้เรียน เกิดแนวปฏิบัติทางนโยบายที่ดีและขยายผลสู่โรงเรียนไทยทั่วประเทศ
พบกับ ภูมิ
ภูมิ เพ็ญตระกูล (รุ่นที่ 4)
นักศึกษา Harvard Kennedy School (หลักสูตร Master in Public Administration, รุ่นปี 2025) อดีตนักวิเคราะห์และผู้ประสานงานโครงการพัฒนาครู กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) (กสศ.)
Policy



ภูมิ เป็นนักวิเคราะห์และบริหารโครงการวิจัยด้านการผลิตและพัฒนาครู กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ภูมิเข้ามาทำงานในกองทุนฯ เพราะเชื่อว่าการลงทุนกับการศึกษาเป็นสิ่งที่คุ้มค่า และอยากช่วยให้หน่วยงานต่างๆด้านการศึกษาทำงานได้ดีขึ้น ลื่นไหลขึ้น ปัจจุบันภูมิกำลังศึกษาต่อที่ Harvard Kennedy School (ปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่นปี 2025) โดยเขามีเป้าหมายที่จะขยายผลกระทบของเขาในระดับชาติโดยทำงานร่วมกับรัฐบาล

ภูมิทำงานที่ กสศ. มาแล้ว 5 ปี ได้รับหน้าที่ดูแลหลายโครงการในภาคนโยบายการศึกษา และได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับกระทรวงศึกษาธิการและภาครัฐตามที่ตั้งใจ สามารถให้คำแนะนำในด้านนโยบายจากมุมมองของผู้ที่เข้าใจปัญหาอย่างแท้จริงภูมิยังได้รับแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการการส่งเสริมความเท่าเทียมและเสมอภาคทางการศึกษา ภายใต้สังกัด กระทรวงศึกษาธิการอีกด้วย

ความภาคภูมิใจของภูมิคือ ภูมิเป็นคนบุกเบิกความร่วมมือของ กสศ. กับ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ทำให้เกิดพัฒนาครูในเชิงรุก นอกจากนั้น หลายๆการสื่อสาร การเตรียมข้อมูลที่เราทำก็ทำให้เก็บเกี่ยวเกี่ยวทรัพยากรมาได้ เช่น สามารถระดมทุนได้หลักพันล้าน

ปัจจุบันภูมิได้เดินทางไปศึกษาต่อในสาขา Public Administration ที่ประเทศอังกฤษ
พบกับ แฟร์
วรชาภา บรรยงคิด (รุ่นที่ 3)
ครูคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนรุ่งอรุณ
School leadership



ตั้งแต่วัยเด็กจนเข้ามหาวิทยาลัยแฟร์ได้รับการสนับสนุนจากคนรอบข้างเสมอ จนคนรอบข้างถามว่าทำไมแฟร์โชคดีจังที่เจอครูที่ดี แฟร์ตระหนักได้ว่าการได้เรียนรู้หรือได้พบเจอครูที่ดีไม่ควรไปเรื่องของโชคชะตา แฟร์จึงสนใจด้านการศึกษามาตลอดและเข้าร่วมโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับ Teach For Thailand แฟร์ได้พัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นำ ทั้งการจัดการ การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึง การเข้าสังคม นอกจากนั้นเขายังได้ซึบซับและถ่ายทอดทัศนคติความเป็นคน/ ความแตกต่างระหว่างบุคคลลงไปในนักเรียนของเราด้วย เวลาที่แฟร์เห็นแววตานักเรียนเป็นประกายด้วยความสำเร็จ เปล่งแสงด้วยความหวังแม้กระทั่งสายตาที่อบอุ่นเพราะถูกยอมรับ แฟร์เลยอยากเป็นเหมือนต้นไม้ใหญ่เป็นที่พึ่ง/พื้นที่ปลอดภัยให้เด็กๆได้เรียนรู้ที่จะเติบโตตามแบบฉบับที่เขาอยากเป็น

ปัจจุบันแฟร์เป็นครูต่อในโรงเรียนที่ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ของนักเรียน เพราะแฟร์อยากเห็นนักเรียนของเขา รวมถึงเด็กๆทุกคนได้เติบโตได้อย่างสวยงามและปลอดภัย เมื่อเขาโตขึ้นเขาก็จะกลายเป็นต้นไม้สำหรับคนอื่นๆต่อไป
พบกับ เปา
นพดล บุตรสาทร (รุ่นที่ 5)
Special project manager ที่ Teach For Thailand
School Leadership



หลังจากได้ย้ายจากจังหวัดชัยภูมิสู่โรงเรียนอินเตอร์ เปาเริ่มตั้งคำถามเกี่ยวกับ ‘ความเหลื่อมล้ำภายในประเทศไทย’ และเปาถูกจุดประกายความฝันโดยคุณครูท่านนึง ทำให้ เขาอยากเป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนรอบข้าง เปาจึงตัดสินใจเข้าโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงของมูลนิธิ Teach For Thailand เพื่อสร้างแรงบันดาลใจและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาให้แก่นักเรียนของเขา

หลังจากจบโครงการ เปาจึงเลือกทำงานกับ มูลนิธิ Teach For Thailand ใน Special Project เพื่อผลักดันการศึกษาไทยและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่บุคคลากรทางการศึกษา ผ่านการสร้าง Learning Space และ Leadership Network ให้คุณครูได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ร่วมกันอย่างยั่งยืน และเปายังเป็นส่วนนึงของ ‘โครงการคัดเลือกโดยชุมชน’ ที่ผลักดันให้นักเรียน, ครู, โรงเรียน และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการคัดเลือกครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงรุ่นต่อไปอีกด้วย
พบกับ ฟลุ๊ค
จิราวุฒิ จิตจักร (ฟลุ๊ค) (รุ่นที่ 6)
นักวิชาการศึกษา สำนักงานเขตบางขุนเทียน



ฟลุ๊คคือหนึ่งในศิษย์เก่าผู้นำการเปลี่ยนแปลง ที่สนใจการขับเคลื่อนความเท่าเทียม และคุณภาพการศึกษาในระดับนโยบาย ความสนใจนี้ทำให้เขาเคยเข้าไปทำงานเป็นที่ปรึกษาการกำหนดนโยบายด้านการศึกษาให้กับพรรคการเมือง ฟลุ๊คตัดสินใจมาเป็นครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงทันทีหลังจบมหาวิทยาลัย ด้วยความคิดที่ว่าอยากเป็นครูที่ดี ที่สามารถพานักเรียนเข้ามหาวิทยาลัยดีๆ และได้ใช้ชีวิตที่ดี

อีกมุมมองหนึ่งของเขา หากต้องการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลในระยะยาวตอนเป็นนักวิชาการด้านการศึกษา เขาสามารถสะท้อนปัญหาที่เจอหน้างานได้จริง จากประสบการณ์การเป็นครูผู้นำฯ ฟลุ๊คเชื่อว่านโยบายด้านการศึกษามีผลกระทบมากกว่าการแก้ปัญหาแค่ในระดับจุลภาค การทำงานเชิงนโยบายทำให้ฟลุ๊คเห็นภาพสะท้อนที่ดีเกี่ยวกับงานในภาพใหญ่สิ่งที่เขาประทับใจคือ การที่ฝ่ายนโยบายสั่งการอะไร โรงเรียนสามารถทำได้ทันที ไม่ต้องผ่านขั้นตอนมากมาย ทำให้เขารู้สึกดีมากที่งานทำให้เกิดผลลัพธ์จริงๆ ฟลุ๊คไม่เชื่อในแนวคิดที่ว่า “ถ้าจะแก้ปัญหาสังคม ให้เริ่มต้นที่ตัวเอง” เพราะพฤติกรรมหรือวิธีคิดของคนขึ้นอยู่กับโครงสร้าง และการเปลี่ยนแปลงไม่สามารถเกิดจากคนๆเดียวได้
พบกับ ดิว
ธิดามาส เต็มสาร (รุ่นที่ 2)
เป็นครู ที่โรงเรียนบ้านม่วง
School Leadership



ดิวเป็นครู ที่โรงเรียนบ้านม่วง ก่อนหน้านี้ดิวเคยทำงานที่โรงพยาบาลมาก่อน แต่ดิวพบว่าปัญหาของระบบการประเมินผลความภูมิพอใจนั้นมีความไม่โปร่งใส เลยรู้สึกไม่มีความสุขที่จะทำงานตรงนี้ต่อ ดิวชอบการสอนหนังสือให้เด็กๆที่จะสอบเข้าโรงเรียนเดียวกับดิวเป็นงานอดิเรก พอเด็กสอบติด ทำให้รู้สึกดีใจมาก และมีความคิดที่จะลองเป็นครู หลังจากได้ไปสอนมาหลายโรงเรียน ดิวกลับมาสอนที่บ้านเกิดของเธอ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือการเป็นผู้อำนวยการโรงเรียน

ประสบการณ์จากโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงทำให้ดิวรู้ว่าแท้จริงแล้วเธอต้องการตอบแทนบ้านเกิดที่ลำปางด้วยการมอบชีวิตที่ดีขึ้นให้กับเด็กๆ ในชุมชน ผ่านการศึกษาที่ดีขึ้น ต่อมาดิวได้เข้าศึกษาต่อในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (วิชาชีพครู) เพื่อรับคุณวุฒิด้านการสอน ด้วยความมุ่งมั่นที่จะสร้างโอกาสในชีวิตที่ดีขึ้นให้กับเด็กๆ ในบ้านเกิด
พบกับ นูนู่
ธัญสรา นวตระการ (นูนู่) (รุ่นที่ 6)
Freelance tutor



นูนู่เป็นคนที่สนใจภาษาอังกฤษเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เธออยากเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้นักเรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษ เพื่อเปิดโลกของตัวเองเลยตัดสินใจร่วมโครงการฯ ประสบการณ์ที่นูนู่ได้จากการเป็นครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงคือ เธอได้ใช้ทักษะเช่น leadership awareness rasing และอื่นๆอีกมากมาย แต่สิ่งหนึ่งที่เธอคิดว่าเป็นโยชน์มากที่สุดคือ ทักษะการสื่อสารที่ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน อีกทั้งเธอยังเชื่อว่าการศึกษาไทยยังมีความหวังที่จะพัฒนาไปได้อีก

ปัจจุบัน ยังคงมีความรักในการสอนและเป็นติวเตอร์อิสระ (freelance tutor)
Previous
Next
พบกับ ทราย
สิริกานต์ แก้วคงทอง (รุ่นที่ 1)
นักวิชาการศึกษา ที่ สำนักมาตราฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและพัฒนาเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

Policy



ทรายคือหนึ่งในศิษย์เก่าที่สนใจด้านการพัฒนาสังคมเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ในช่วงมหาวิทยาลัย ทรายได้ทำกิจกรรมอาสามากมาย ระหว่างที่ทรายได้เป็นอาสาสมัคร ทรายได้พูดคุยกับ เด็กในชุมชนแออัดจึงตระหนักได้ว่า การศึกษาเป็นส่วนสำคัญในการลดปัญหาสังคมได้ ทรายจึงตัดสินใจเป็นส่วนหนึ่งกับ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์

ระหว่างโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ทรายได้ทำสิ่งที่ตัวเองรักอย่างการพัฒนาศักยภาพนักเรียน พร้อมกับการพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นำและทักษะอื่นๆตลอดระยะเวลา 2 ปี เช่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงานเป็นทีม หรือแม้แต่ความเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงต้องอาศัยเวลาแค่ไม่หยุดลงมือทำก็พอแล้ว

ปัจจุบันทรายได้ทำงานเป็นนักวิชาการในสำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและพัฒนาเรียนรู้ ทรายยังคงมุ่ง ศึกษา วิจัย พัฒนา และ ขับเคลื่อนนโยบายทางการศึกษา ผ่านการทำงานร่วมกับภาคส่วนต่างๆในสังคม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนหน่วยงานทางการศึกษาต่อไป
พบกับ สกาย
ทัฬหวิชญ์ ฐิติรัตน์สกุล (รุ่นที่ 2)
นักวิจัย ที่ TDRI
Policy



สกายคือหนึ่งในศิษย์เก่าที่สนใจงานด้านการเปลี่ยนแปลงในระดับนโยบาย ซึ่งปัจจุบันทำหน้าที่เป็นนักวิจัยภายใต้โครงการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

สกายเชื่อว่างานวิจัยพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เป็นหนทางหนึ่งสู่การปฏิรูปการศึกษาไทย ผ่านการปลดล็อกกฎระเบียบ สร้างกลไกความเป็นอิสระ เปิดโอกาสให้คนในพื้นที่ และ ภาคส่วนต่างๆ สามารถมีส่วนร่วม สะท้อนความต้องการ ร่วมกันจัดการศึกษาเพื่อตอบโจทย์ผู้เรียน เกิดแนวปฏิบัติทางนโยบายที่ดีและขยายผลสู่โรงเรียนไทยทั่วประเทศ
พบกับ ภูมิ
ภูมิ เพ็ญตระกูล (รุ่นที่ 4)
นักวิเคราะห์และบริหารโครงการวิจัย ด้านการผลิตและพัฒนาครู
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)

Policy



ภูมิ นับว่าเป็นหนึ่งคนที่ได้รับการศึกษาที่ดีมาตลอดชีวิต ก่อนมาเข้าร่วมทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ ภูมิจบการศึกษาปริญญาโท MSc. Economics & Management จาก London School of Economics and Political Science (LSE) จากการศึกษาในโรงเรียนนานาชาติและมหาวิทยาลัยต่างประเทศมาโดยตลอด ภูมิมีข้อสงสัยเสมอมาว่า ‘เหตุใดการศึกษาไทยถึงไม่ดี?’ และเลือกที่จะเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ เพื่อที่จะหาคำตอบว่า ‘ทำไมการศึกษาไทยถึงยังดีไม่ได้?’

ประสบการณ์การเป็นครู 2 ปี ทำให้ภูมิได้เห็นหน้าตาของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่แท้จริง ทำให้ภูมิเลือกที่จะพัฒนาการศึกษาต่อผ่านการเป็นนักวิเคราะห์และบริหารโครงการวิจัยที่ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
พบกับ แฟร์
วรชาภา บรรยงคิด (รุ่นที่ 3)
ครูคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนรุ่งอรุณ
School leadership



ตั้งแต่วัยเด็กจนเข้ามหาวิทยาลัยแฟร์ได้รับการสนับสนุนจากคนรอบข้างเสมอ จนคนรอบข้างถามว่าทำไมแฟร์โชคดีจังที่เจอครูที่ดี แฟร์ตระหนักได้ว่าการได้เรียนรู้หรือได้พบเจอครูที่ดีไม่ควรไปเรื่องของโชคชะตา แฟร์จึงสนใจด้านการศึกษามาตลอดและเข้าร่วมโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับ Teach For Thailand แฟร์ได้พัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นำ ทั้งการจัดการ การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึง การเข้าสังคม นอกจากนั้นเขายังได้ซึบซับและถ่ายทอดทัศนคติความเป็นคน/ ความแตกต่างระหว่างบุคคลลงไปในนักเรียนของเราด้วย เวลาที่แฟร์เห็นแววตานักเรียนเป็นประกายด้วยความสำเร็จ เปล่งแสงด้วยความหวังแม้กระทั่งสายตาที่อบอุ่นเพราะถูกยอมรับ แฟร์เลยอยากเป็นเหมือนต้นไม้ใหญ่เป็นที่พึ่ง/พื้นที่ปลอดภัยให้เด็กๆได้เรียนรู้ที่จะเติบโตตามแบบฉบับที่เขาอยากเป็น

ปัจจุบันแฟร์เป็นครูต่อในโรงเรียนที่ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ของนักเรียน เพราะแฟร์อยากเห็นนักเรียนของเขา รวมถึงเด็กๆทุกคนได้เติบโตได้อย่างสวยงามและปลอดภัย เมื่อเขาโตขึ้นเขาก็จะกลายเป็นต้นไม้สำหรับคนอื่นๆต่อไป
พบกับ เปา
นพดล บุตรสาทร (รุ่นที่ 5)
Special project manager ที่ Teach For Thailand
School Leadership



หลังจากได้ย้ายจากจังหวัดชัยภูมิสู่โรงเรียนอินเตอร์ เปาเริ่มตั้งคำถามเกี่ยวกับ ‘ความเหลื่อมล้ำภายในประเทศไทย’ และเปาถูกจุดประกายความฝันโดยคุณครูท่านนึง ทำให้ เขาอยากเป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนรอบข้าง เปาจึงตัดสินใจเข้าโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงของมูลนิธิ Teach For Thailand เพื่อสร้างแรงบันดาลใจและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาให้แก่นักเรียนของเขา

หลังจากจบโครงการ เปาจึงเลือกทำงานกับ มูลนิธิ Teach For Thailand ใน Special Project เพื่อผลักดันการศึกษาไทยและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่บุคคลากรทางการศึกษา ผ่านการสร้าง Learning Space และ Leadership Network ให้คุณครูได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ร่วมกันอย่างยั่งยืน และเปายังเป็นส่วนนึงของ ‘โครงการคัดเลือกโดยชุมชน’ ที่ผลักดันให้นักเรียน, ครู, โรงเรียน และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการคัดเลือกครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงรุ่นต่อไปอีกด้วย
Previous
Next
พบกับ ทราย
สิริกานต์ แก้วคงทอง
(รุ่นที่ 1)


นักวิชาการศึกษา ที่ สำนักมาตราฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและพัฒนาเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
Policy



ทรายคือหนึ่งในศิษย์เก่าที่สนใจด้านการพัฒนาสังคมเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ในช่วงมหาวิทยาลัย ทรายได้ทำกิจกรรมอาสามากมาย ระหว่างที่ทรายได้เป็นอาสาสมัคร ทรายได้พูดคุยกับ เด็กในชุมชนแออัดจึงตระหนักได้ว่า การศึกษาเป็นส่วนสำคัญในการลดปัญหาสังคมได้ ทรายจึงตัดสินใจเป็นส่วนหนึ่งกับ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์

ระหว่างโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ทรายได้ทำสิ่งที่ตัวเองรักอย่างการพัฒนาศักยภาพนักเรียน พร้อมกับการพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นำและทักษะอื่นๆตลอดระยะเวลา 2 ปี เช่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงานเป็นทีม หรือแม้แต่ความเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงต้องอาศัยเวลาแค่ไม่หยุดลงมือทำก็พอแล้ว

ปัจจุบันทรายได้ทำงานเป็นนักวิชาการในสำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและพัฒนาเรียนรู้ ทรายยังคงมุ่ง ศึกษา วิจัย พัฒนา และ ขับเคลื่อนนโยบายทางการศึกษา ผ่านการทำงานร่วมกับภาคส่วนต่างๆในสังคม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนหน่วยงานทางการศึกษาต่อไป
พบกับ สกาย
ทัฬหวิชญ์ ฐิติรัตน์สกุล
(รุ่นที่ 2)


นักวิจัย ที่ TDRI
Policy



สกายคือหนึ่งในศิษย์เก่าที่สนใจงานด้านการเปลี่ยนแปลงในระดับนโยบาย ซึ่งปัจจุบันทำหน้าที่เป็นนักวิจัยภายใต้โครงการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

สกายเชื่อว่างานวิจัยพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เป็นหนทางหนึ่งสู่การปฏิรูปการศึกษาไทย ผ่านการปลดล็อกกฎระเบียบ สร้างกลไกความเป็นอิสระ เปิดโอกาสให้คนในพื้นที่ และ ภาคส่วนต่างๆ สามารถมีส่วนร่วม สะท้อนความต้องการ ร่วมกันจัดการศึกษาเพื่อตอบโจทย์ผู้เรียน เกิดแนวปฏิบัติทางนโยบายที่ดีและขยายผลสู่โรงเรียนไทยทั่วประเทศ
พบกับ ภูมิ
ภูมิ เพ็ญตระกูล
(รุ่นที่ 4)


นักวิเคราะห์และบริหารโครงการวิจัย ด้านการผลิตและพัฒนาครู
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)

Policy



ภูมิ นับว่าเป็นหนึ่งคนที่ได้รับการศึกษาที่ดีมาตลอดชีวิต ก่อนมาเข้าร่วมทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ ภูมิจบการศึกษาปริญญาโท MSc. Economics & Management จาก London School of Economics and Political Science (LSE) จากการศึกษาในโรงเรียนนานาชาติและมหาวิทยาลัยต่างประเทศมาโดยตลอด ภูมิมีข้อสงสัยเสมอมาว่า ‘เหตุใดการศึกษาไทยถึงไม่ดี?’ และเลือกที่จะเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ เพื่อที่จะหาคำตอบว่า ‘ทำไมการศึกษาไทยถึงยังดีไม่ได้?’

ประสบการณ์การเป็นครู 2 ปี ทำให้ภูมิได้เห็นหน้าตาของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่แท้จริง ทำให้ภูมิเลือกที่จะพัฒนาการศึกษาต่อผ่านการเป็นนักวิเคราะห์และบริหารโครงการวิจัยที่ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
พบกับ แฟร์
วรชาภา บรรยงคิด
(รุ่นที่ 3)


ครูคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนรุ่งอรุณ
School leadership



ตั้งแต่วัยเด็กจนเข้ามหาวิทยาลัยแฟร์ได้รับการสนับสนุนจากคนรอบข้างเสมอ จนคนรอบข้างถามว่าทำไมแฟร์โชคดีจังที่เจอครูที่ดี แฟร์ตระหนักได้ว่าการได้เรียนรู้หรือได้พบเจอครูที่ดีไม่ควรไปเรื่องของโชคชะตา แฟร์จึงสนใจด้านการศึกษามาตลอดและเข้าร่วมโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับ Teach For Thailand แฟร์ได้พัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นำ ทั้งการจัดการ การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึง การเข้าสังคม นอกจากนั้นเขายังได้ซึบซับและถ่ายทอดทัศนคติความเป็นคน/ ความแตกต่างระหว่างบุคคลลงไปในนักเรียนของเราด้วย เวลาที่แฟร์เห็นแววตานักเรียนเป็นประกายด้วยความสำเร็จ เปล่งแสงด้วยความหวังแม้กระทั่งสายตาที่อบอุ่นเพราะถูกยอมรับ แฟร์เลยอยากเป็นเหมือนต้นไม้ใหญ่เป็นที่พึ่ง/พื้นที่ปลอดภัยให้เด็กๆได้เรียนรู้ที่จะเติบโตตามแบบฉบับที่เขาอยากเป็น

ปัจจุบันแฟร์เป็นครูต่อในโรงเรียนที่ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ของนักเรียน เพราะแฟร์อยากเห็นนักเรียนของเขา รวมถึงเด็กๆทุกคนได้เติบโตได้อย่างสวยงามและปลอดภัย เมื่อเขาโตขึ้นเขาก็จะกลายเป็นต้นไม้สำหรับคนอื่นๆต่อไป
พบกับ เปา
นพดล บุตรสาทร
(รุ่นที่ 5)


Special project manager ที่ Teach For Thailand
School Leadership



หลังจากได้ย้ายจากจังหวัดชัยภูมิสู่โรงเรียนอินเตอร์ เปาเริ่มตั้งคำถามเกี่ยวกับ ‘ความเหลื่อมล้ำภายในประเทศไทย’ และเปาถูกจุดประกายความฝันโดยคุณครูท่านนึง ทำให้ เขาอยากเป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนรอบข้าง เปาจึงตัดสินใจเข้าโครงการครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงของมูลนิธิ Teach For Thailand เพื่อสร้างแรงบันดาลใจและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาให้แก่นักเรียนของเขา

หลังจากจบโครงการ เปาจึงเลือกทำงานกับ มูลนิธิ Teach For Thailand ใน Special Project เพื่อผลักดันการศึกษาไทยและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่บุคคลากรทางการศึกษา ผ่านการสร้าง Learning Space และ Leadership Network ให้คุณครูได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ร่วมกันอย่างยั่งยืน และเปายังเป็นส่วนนึงของ ‘โครงการคัดเลือกโดยชุมชน’ ที่ผลักดันให้นักเรียน, ครู, โรงเรียน และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการคัดเลือกครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงรุ่นต่อไปอีกด้วย
Previous
Next